แรกเกิด – 1 ขวบ
เด็กอายุยังไม่ถึงขวบ อยากได้ยินเสียงพ่อแม่ เพราะรู้สึกอุ่นใจที่มีพ่อแม่อยู่ใกล้ๆ จะอ่านหนังสืออะไรให้ลูกฟังก็ได้ เพราะไม่ว่าคุณจะเล่าอะไรมา เขาก็ยังไม่ค่อยเข้าใจ แต่ถ้าเป็นหนังสือคำกลอน หรือคำคล้องจอง จะชอบมากเป็นพิเศษ และยังชอบฟังเรื่องราวที่ใช้ภาษาง่ายๆ สั้นๆ ชอบภาพที่มีสีตัดกันอย่างสีขาวดำ
เด็กอายุยังไม่ถึงขวบ อยากได้ยินเสียงพ่อแม่ เพราะรู้สึกอุ่นใจที่มีพ่อแม่อยู่ใกล้ๆ จะอ่านหนังสืออะไรให้ลูกฟังก็ได้ เพราะไม่ว่าคุณจะเล่าอะไรมา เขาก็ยังไม่ค่อยเข้าใจ แต่ถ้าเป็นหนังสือคำกลอน หรือคำคล้องจอง จะชอบมากเป็นพิเศษ และยังชอบฟังเรื่องราวที่ใช้ภาษาง่ายๆ สั้นๆ ชอบภาพที่มีสีตัดกันอย่างสีขาวดำ
หนังสือสำหรับเด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี ควรเป็นหนังสือที่มีภาพใหญ่ชัดเจน ต้องผลิตด้วยกระดาษที่หนา มีความคงทน หรือ เป็นหนังสือนุ่มนิ่ม นุ่มนวลละมุนมือ แต่ต้องทำความสะอาดได้ง่าย เพราะเด็กวัยนี้ชอบเลีย ชอบกัดหนังสือ ชอบเอาของทุกอย่างเข้าปาก
1-2 ขวบ
เมื่อย่างเข้าสู่วัยนี้ เจ้าตัวเล็กเริ่มเรียนรู้เรื่องเหตุและผล เชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อเรื่องกับภาพได้ และเริ่มเข้าใจความหมายที่พ่อแม่พูดจากการสังเกตน้ำเสียง ฉะนั้นจึงมีอารมณ์ร่วมกับนิทานที่พ่อแม่อ่านให้ฟังมากขึ้น จดจำเรื่องราวต่าง ๆ ได้มากขึ้น จึงต้องอ่านช้า ๆ และแบ่งเป็นวรรคสั้น ๆ เพื่อให้ลูกจดจำเนื้อหาง่าย ๆ ได้
เมื่อย่างเข้าสู่วัยนี้ เจ้าตัวเล็กเริ่มเรียนรู้เรื่องเหตุและผล เชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อเรื่องกับภาพได้ และเริ่มเข้าใจความหมายที่พ่อแม่พูดจากการสังเกตน้ำเสียง ฉะนั้นจึงมีอารมณ์ร่วมกับนิทานที่พ่อแม่อ่านให้ฟังมากขึ้น จดจำเรื่องราวต่าง ๆ ได้มากขึ้น จึงต้องอ่านช้า ๆ และแบ่งเป็นวรรคสั้น ๆ เพื่อให้ลูกจดจำเนื้อหาง่าย ๆ ได้
ลูกน้อยวัยนี้เป็นนักสำรวจตัวยง อยากรู้อยากเห็น ชอบทดลองทำนั่นทำนี่ สนใจผู้คนรอบตัว และโปรดปรานสัตว์ทุกชนิด จึงควรหาหนังสือที่มีภาพสัตว์หรือภาพคน มีอักษรตัวโต ๆ มาอ่านให้ฟัง ควรเป็นหนังสือบอร์ดบุ๊คที่ทำจากกระดาษแข็ง ทนทาน เพราะเปิดง่าย ควรปล่อยให้ลูกได้สำรวจหนังสือ และพลิกหน้ากระดาษเอง โดยพ่อแม่แสดงวิธีเปิดหน้าหนังสือที่ถูกต้องให้ดูก่อน ไม่ช้าเจ้าตัวเล็กจะคว้าหนังสือมาพลิกดูซ้ำแล้วซ้ำอีก หรือไม่ก็ทำท่าอ่านหนังสือให้ตุ๊กตาตัวโปรดฟัง
2-3 ขวบ
ช่วงขวบปีนี้ เจ้าตัวเล็กเรียนรู้คำศัพท์ เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และกำลังพัฒนาทักษะการฟัง พ่อแม่จึงควรหาหนังสือที่มี ระดับความยากขึ้นมาจากขวบปี ก่อนสักเล็กน้อยแต่เด็กวัยนี้ยังมีช่วงความสนใจสั้นจึง อยู่นิ่ง ๆ ได้เพียงไม่กี่นาที หนังสือจึงต้องมีเนื้อหาไม่ ยาวมาก โครงเรื่องไม่ซับซ้อน จำนวนคำน้อยและควรนำเสนอในร ูปคำคล้องจองเพราะหนูน้อยวั ยนี้กำลังเริ่มพัฒนาทักษะทา งภาษา ผ่านภาษาดนตรีที่มีจังหวะ และมีการย้ำคำซ้ำไปซ้ำมา เนื้อหาควรเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับสิ่งรอบตัวและกิจ วัตรประจำวันง่าย ๆ ที่ลูกสามารถช่วยเหลือตนเอง ได้ เช่น การแต่งตัว การแปรงฟัน และการเข้าห้องน้ำ
ช่วงขวบปีนี้ เจ้าตัวเล็กเรียนรู้คำศัพท์
เวลาอ่านหนังสือให้ลูกฟัง พ่อแม่ควรตั้งคำถามง่าย ๆ และพูดเชื่อมโยงภาพหรือเนื้
4-6 ขวบ
ช่วงวัยนี้เป็นช่วงเวลาที่โ ลกใบเล็กของลูกขยายกว้างจาก รั้วบ้านออกไปสู่สังคมภายนอ กช่วงวัย 4 - 6 ปี ยังเป็นวัย “อนุบาล” จึงต้องการการพัฒนาทักษะที่ หลากหลายมากขึ้นเข้าสู่โลกแ ห่งการเรียนรู้อย่างแท้จริง แล้ว
ช่วงวัยนี้เป็นช่วงเวลาที่โ
นอกจากการส่งเสริมประสบการณ
หนังสือสำหรับลูกวัยนี้ต้อง
6 ขวบขึ้นไป
วัยนี้ก็คือเด็กวัยประถมนั่นเอง
เด็กวัยนี้เริ่มอ่านหนังสือได้เองแล้ว และมีช่วงความสนใจนานขึ้น ดังนั้น
หนังสือที่เด็กๆ ในวัยนี้จะเริ่มให้ความสนใจเป็นพิเศษก็คือ
หนังสือที่เกี่ยวกับความรู้รอบตัวนั่นเอง เช่น ประวัติศาสตร์ วิทยาศาสตร์
โลกใต้ทะเล อวกาศ ฯลฯ
และเนื่องจากว่าเด็กๆ ในวัยนี้ก็จะเริ่มอ่านหนังสือเองได้แล้ว คุณพ่อคุณแม่ก็อย่าได้น้อยใจไป หากเขาจะเริ่มอยากอ่านหนังสือคนเดียวมากขึ้นโดยที่ไม่ให้เราช่วย
ข้อมูล : รูปแบบการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านในเด็กอายุ 1-3 ปี โดยพ่อแม่ และผู้เลี้ยงดูเด็ก โดย สำนักเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
ที่มาhttps://www.planforkids.com/index.php
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น